ชาตินี้ ชาติหน้า
ทำไมสมัยก่อนผู้คนจึงไม่สงสัยเรื่องชาติหน้า แต่ปัจจุบันสงสัยและคิดว่าเป็นเรื่องงมงาย ? เรื่องของภพชาติมีรายละเอียดอย่างไรบ้าง ?
ทุกข์โทษภัยของวจีกรรม
การพูดหรือการสื่อสารที่ขาดสติพิจารณา พูดเอาสนุกปาก พูดหยาบคาย หรือพูดโดยปราศจากข้อมูลที่แท้จริง ไม่เพียงแต่....
ผ้าห่อถักทอเชื่อมสายบุญ
ผ้าห่อคัมภีร์มีประเภทที่ทอด้วยเส้นฝ้ายหรือไหมล้วนและแบบที่มีไม้ไผ่สอดสลับ...
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๒๐)
แนวการสอนและการปฏิบัติของพระเดชพระคุณหลวงปู่เป็นไปตามแบบของโบราณาจารย์ ซึ่งสงเคราะห์ลงได้ในหลักกายคตาสติกรรมฐานที่พระสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงวางแบบไว้
ประมวลภาพวันสมาธิโลก World Meditation Day
พิธีบูชาข้าวพระ, พิธีมุทิตาสักการะพระภิษุผู้สอบได้เปรียญธรรม ๙ ประโยค ระดับโลก ปีที่ ๓๐ พิธีถวายมหาสังฆทาน ๑,๐๐๐ วัด ทั่วประเทศ ปีที่ ๑๘, พิธีถวายไทยธรรมแด่คณะสงฆ์ ๓๒๓ วัด ๔ จังหวัดชายแดนภาคใต้ ปีที่ ๑๓ ครั้งที่ ๑๒๙ เนื่องในวันสมาธิโลก วันอาทิตย์ที่ ๖ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๖๐ ณ สภาธรรมกายสากล วัดพระธรรมกาย จ.ปทุมธานี
สรรเสริญพุทธคุณ บุญส่งถึงนิพพาน
“ข้าแต่พระองค์ผู้นิรทุกข์ พระองค์เท่านั้นเป็นที่พึ่งของบุคคลผู้ว่ายอยู่ในห้วงน้ำ เป็นนาถะของผู้ไม่มีเผ่าพันธุ์ เป็นสรณะของผู้ที่ยังมีภัย และเป็นผู้นำของผู้ต้องการความหลุดพ้น”
ลูกศิษย์แจง มีมติไม่ให้เจ้าหน้าที่เข้าพื้นที่เอง–ไม่เกี่ยวกับหลวงพ่อทัตตชีโว
ลูกศิษย์แจงมีมติไม่ให้เจ้าหน้าที่เข้าพื้นที่เอง – ไม่เกี่ยวกับหลวงพ่อทัตตชีโว คณะศิษย์วัดพระธรรมกาย ๒๒ ก.พ. ๒๕๖๐ เวลา ๑๗.๒๐ น.
"สังคมเปลี่ยนไป" แนวทางการใช้ชีวิตเปลี่ยนตามพระพุทธศาสนามีคำแนะนำอย่างไร ?
สังคมมนุษย์ยุคโซเชียลเน็ตเวิร์กในทุกวันนี้ มีโคชช่วยแนะนำแนวทางการใช้ชีวิตหลายรูปแบบมาก จนบางครั้งก็ไม่รู้ว่าจะเชื่อใครดีอยากทราบว่า ในพระพุทธศาสนามีคำแนะนำแนวทางการใช้ชีวิตที่เป็นมาตรฐานบ้างหรือไม่ว่าควรเป็นอย่างไร ?
คารวะ ๖
ศัพท์ว่า "คารวะ" แปลกันว่า ความเคารพ หมายถึงความเอื้อเฟื้อ มักจะพูดติดต่อกันว่า ความเคารพเอื้อเฟื้อและมักจะใช้คู่กับคำว่า "นับถือบูชา" โดยความหมาย ก็คือ การปฏิบัติดีปฏิบัติชอบยกย่องเชิดชู ไม่ลบหลู่ดูหมิ่น ในบุคคลนั้นๆ และในธรรมนั้นๆ
หลักฐานธรรมกายในคัมภีร์พุทธโบราณ (ตอนที่ ๑๙)
สำหรับในฉบับที่แล้วนั้น ผู้เขียนได้พาท่านผู้อ่านให้ย้อนกลับไปรู้จักกับประวัติศาสตร์ของ “พระธรรมจักรศิลา” และความเชื่อมโยงกันของการที่พระพุทธศาสนาได้เริ่มเข้ามาสู่ดินแดนสุวรรณภูมิแห่งนี้ เมื่อราวพุทธศตวรรษที่ ๑๑ หรือประมาณ ๑,๔๐๐ กว่าปีล่วงมาแล้ว